|
ตรวจสอบโดยใช้มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
 | ตรวจสอบระบบไฟฟ้าแรงสูงจากการไฟฟ้า
ตรวจสภาพสายเสาอุปกรณ์ประกอบหัวเสา,สภาพสาย การจับยึด ความตึง,ตรวจระยะห่างระหว่างสายกับอาคาร สิ่งก่อสร้างหรือต้นไม้,ตรวจสภาพการติดตั้งกับดักฟ้าผ่าสายดิน ฯลฯ |
 | ตรวจสอบบริเวณหม้อแปลงไฟฟ้า
สถานที่ตั้งหม้อแปลง,ระยะห่างระหว่างหม้อแปลงกับรั้ว,ป้ายเตือน,ความสูงและสภาพรั่ว ตรวจการต่อลงดินของส่วนที่เป็นโลหะและเปิดโล่ง,วัดค่าความต้านทานการต่อลงดิน,ตรวจพื้นลานหม้อแปลงต้องมีหินเบอร์สอง,ตรวจการป้องกันการสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้า ตรวจวัดกระแสหม้อแปลง,แรงดันไฟฟ้าด้านไฟฟ้าออก |
 | ตรวจสอบเมนสวิตซ์ ตู้ MDB
ตรวจขนาดกระแสของเมนสวิตช์และสายเมน,ตรวจพิกัดตัดกระแสลัดวงจรของเมนสวิตซ์,ตรวจขนาดสายต่อหลักดิน,ตรวจขนาดสายดินของอุปกรณ์ไฟฟ้า (วงจรสายป้อน),แสงสว่าง ป้ายชื่อและแผนภาพเส้นเดี่ยว,ตรวจวัดความร้อนและจุดต่อสายบัสบาร์ |
 | ตรวจสอบโดยใช้กล้องอินฟาเรด
ตรวจเช็คจุดต่อ,ข้อต่อสาย,อุปกรณ์ประกอบ เพื่อตรวจเช็คความร้อน,จุดหลวม เป็นการป้องกันเหตุอัคคีภัยได้เป็นอย่างดี |
 | ตรวจเช็คการกระแสไฟรั่วของอุปกรณ์ไฟฟ้า
ตรวจเช็คการรั่วไหลกระแสไฟ การต่อลงดินของอุปกรณ์ไฟ้ฟ้า ส่วนโครงที่เป็นโลหะ ควรต่อสายดิน เพื่อความปลอดภัยของผู้ที่เกี่ยวข้อง |
 | ตรวจวัดค่าทางไฟฟ้า
ตรวจวัดค่ากระแส,แรงดัน,ความถี่,ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์,ค่าฮาโมนิคส์ โดย เครื่องมือตรวจวัด Power Quality analyzer |
 | ตรวจสอบค่าความต้านทานดินของระบบป้องกันฟ้าฝ่า
การวัดค่าความต้านทานหลักดินแบบ จะวัดเพื่อตรวจสอบว่าค่าความต้านทานหลักดินนั้นเป็นไปตามาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟ้า มาตรฐานไม่ควรเกิน 5 โอห์ม โดยใช้เครื่องมือ Earth Resistance testter
|
 | ตรวจเช็คจัดทำแผนผังวงจรไฟฟ้า Single line diagram
แผนผังวงจรไฟฟ้าเส้นเดี่ยว (single line diagram) ที่บอกรายละเอียดของภาระของงานทั้งหมด โดยจะบอกถึงขนาดของ circuit breaker ขนาดของสายไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่รองรับ ฯลฯ โดย บริษัทฯ รับจัดทำและเซ็นต์รับรองโดยวิศวกรไฟฟ้า ระดับสามัญ |
 | ตรวจสอบตู้แผงย่อย ตู้ DB,Load Center
ตรวจเช็คขั้วต่อสาย,การวัดไฟฟ้ารั่ว,การป้องกันน้ำและฝน,ขนาดและสภาพสาย,ตรวจวัดกระแส,ตำแหน่งการติดตั้ง,สิ่งกีดขวางหน้าตู้,ป้ายเตือนอันตราย, และการต่อฝากฝาตู้ ฯลฯ |
|